วันแห่งประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ 20 กรกฎาคม 2022 วันครบรอบ 53 ปีที่ ยานอะพอลโล 11 ลงจอดสู่ ดวงจันทร์ ได้สำเร็จครั้งแรกของโลก. 20 กรกฎาคม 1969 วันครบรอบ ยานอพอลโล 11 สามารถลงจอดสู่ ดวงจันทร์ ได้เป็ครั้งแรกของมนุษยชาติ ในปัจจุบันนั้นเทคโนโลยีอวกาศก้าวไกล และมีการพัฒนาอย่าต่อเนื่องจนถึงขนาดที่ว่ามนุษย์นั้น สามารถเดินทางออกนอกโลกได้ดูจะเป็นเรื่องที่ง่ายดาย แต่เมื่อเรามองย้อนกลับไปเมื่อราวๆ 50 กว่าปีก่อนดูจะเป็นได้ยากมาก แต่ไม่ใช้กับยานลำนี้
20 กรกฎาคม ครบรอบ 53 ปี ยานอะพอลโล 11 และนีล อาร์มสตรอง ลงสู่พื้นดวงจันทร์เป้นครั้งแรก
รู้จักอะพอลโล 11 (Apollo XI) อะพอลโล 11 (Apollo XI) หนึ่งในยาอวกาศจาก โครงการอะพอลโล มีจุดประสงค์เพื่อต้องการส่งนักบินอวกาศไปเยือน ดวงจันทร์ เริ่มต้นโครงการมาจากการประกาศของ จอห์น เอฟ. เคนเนดี อดีตประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาในปี 1960 จากคำกล่าวที่ว่า “เราส่งมนุษย์ลงจอดบนดวงจันทร์และนำเขากลับคืนสู่พื้นโลกอย่างปลอดภัย”
โครงการอะพอลโล เริ่มดำเนินการขึ้นในปีค.ศ. 1961 ทำให้ องค์การอวกาศแห่งชาติของประเทศอเมริกา (NASA) จึงเริ่มแผนปฏิบัติการโครงการส่งนักบินอวกาศไปยังดวงจันทร์ที่ชื่อว่า อะพอลโล เริ่มต้นโครงการด้วย ยานอวกาศอะพอลโล 1 แต่ก็เกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ทำให้นักบินทั้ง 3 คนเสียชีวิต จนได้มาเริ่มต้นต่อในโครงการอะพอลโล 4
โครงอะพอลโลนำเนิดการทดสอบมาอย่างต่อเนื่องจนในวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ.1969 อะพอลโล 11 (Apollo XI) ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยจรวด แซเทิร์น 5 (Saturn V) ก่อนแยกยานลงดวงจันทร์ไปลงจอดบริเวณ “ทะเลแห่งความเงียบสงบ” (Mare Tranquilitatis) ได้สำเร็จ ในวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ.1969
ลูกเรือในยานอวกาศประกอบด้วย นีล อาร์มสตรอง ผู้บังคับการ, เอดวิน อัลดริน นักบินยานลงดวงจันทร์ (Lunar Module) และไมเคิล คอลลินส์ เป็นนักบินยานบังคับการ (Command Module) ซึ่งในเหตุการณ์ครั้งนี้ยังส่งผลให้นีล อาร์มสตรอง กลายเป็นมนุษย์คนแรกที่เหยียบดวงจันทร์อีกด้วย.
ในวันที่ 20 กรกฎาคม 1969 หลังจากที่ลูกเรือและยานอวกาศ อะพอลโล 11 ลงจอดบนดวงจันทร์ นักบินอวกาศใช้เวลาอยู่บนดวงจันทร์รวม 21 ชั่วโมง 36 นาที ใช้เวลานับตั้งแต่ออกเดินทางจนกลับถึงโลก 195 ชั่วโมง 18 นาที 35 วินาที โดยเดินทางกลับมาลงจอดบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ.1969 เป็นอันจบภารกิจรวมเวลาเดินทางในอวกาศทั้งหมดกว่า 8 วัน
จีนเผย “แร่ธาตุใหม่” จากดวงจันทร์ จากภารกิจ ฉางเอ๋อ-5
องค์การบริหารอวกาศแห่งชาติจีน ประกาศการค้นพบ แร่ธาตุใหม่ จากดวงจันทร์ เก็บโดยภารกิจฉางเอ๋อ-5 (Chang’e-5) ของจีน โปร่งแสง ไร้สีไร้กลิ่น
วันศุกร์ที่ 9 กันยายน 2565 องค์การบริหารอวกาศแห่งชาติจีน และสำนักงานพลังงานปรมาณูแห่งประเทศจีน ร่วมประกาศว่า คณะนักวิทยาศาสตร์จีนได้ค้นพบ แร่ธาตุชนิดใหม่จากดวงจันทร์ ผ่านการวิจัยตัวอย่างจากดวงจันทร์ที่เก็บโดยภารกิจฉางเอ๋อ-5 (Chang’e-5) ของจีน
ต่งเป่าถง รองผู้อำนวยการสำนักงานฯ กล่าวว่าแร่ดังกล่าวเป็นแร่ชนิดใหม่ที่จีนค้นพบจากดวงจันทร์ครั้งแรก และเป็นแร่ชนิดที่ 6 ที่มนุษย์ค้นพบ โดยการค้นพบครั้งใหม่นี้ทำให้จีนเป็นประเทศที่ 3 ของโลกที่ค้นพบแร่ชนิดใหม่จากดวงจันทร์ โดยให้แร่ชนิดใหมีชื่อว่า ฉางเอ๋อไซต์-(วาย) / (Changesite-(Y))
วันที่ 12 ก.ย. สถาบันวิจัยธรณีวิทยายูเรเนียมกรุงปักกิ่ง ซึ่งอยู่ในเครือของบริษัทนิวเคลียร์แห่งชาติจีน เปิดเผยลักษณะรูปทรง 3 มิติที่ได้จากการซีทีสแกน พบว่าแร่ฉางเอ๋อไซต์-(วาย) มีลักษณะเป็นผลึกที่เรียงเป็นแนวโปร่งใสไร้สี ถูกค้นพบจากการวิเคราะห์อนุภาคหินบะซอลต์จากดวงจันทร์
ทั้งนี้ คณะกรรมการว่าด้วยแร่ธาตุใหม่ การตั้งชื่อ และการจำแนกประเภทของสมาคมแร่วิทยานานาชาติ ได้อนุมัติให้ฉางเอ๋อไซต์-(วาย) เป็นแร่ชนิดใหม่อย่างเป็นทางการแล้ว
ส่วนในเคสของแฟนหนุ่ม อายุ 16 ปี จะเข้าในกลุ่มเด็กอายุ 15 ปี ไม่เกิน 18 ปี กระทำความผิด กฎหมายถือว่ามีความรู้สึกผิดชอบตามสมควรแล้ว แต่ก็ไม่อาจถือว่ามีความรู้สึก ผิดชอบอย่างเต็มที่ เช่น กรณีผู้ใหญ่กระทำความผิด กฎหมายจึงเปิดโอกาสให้ศาลใช้ดุลพินิจได้ โดยศาลที่พิจารณาคดีอาจเลือกลงโทษทางอาญา แก่เด็กนั้นเช่นเดียวกับกรณีคนทั่วไป (แต่ให้ลดโทษลงกึ่งหนี่งของโทษที่กฎหมายกำหนดไว้ก่อน)หรือศาลอาจจะเลือกใช้ “วิธีการสำหรับเด็ก”อย่างที่ใช้กับเด็กอายุ 10 ปี ไม่เกิน 15ปีก็ได้
ทั้งนี้การที่ศาลจะใช้ดุจพินิจลงโทษเด็กนั้น หรือเลือกใช้ “วิธีการสำหรับเด็ก”ศาลต้องพิจารณาถึง “ความรู้ผิดชอบและสิ่งอื่นทั้งปวง เกี่ยวกับผู้นั้น”เพื่อพิจารณาว่าสมควรจะเลือกใช้วิธีใดระหว่างการลงโทษทางอาญา กับการใช้วิธีการสำหรับเด็ก และถ้าศาลเห็นสมควรลงโทษทางอาญา ศาลก็ต้องลดโทษลงกึ่งหนึ่งของโทษที่กฎหมายกำหนดไว้ก่อนด้วย
ส่วนที่น้องสาวบอกว่าทำไปเพราะมีอาการทางจิตและขาดสติ ส่วนตัวคิดว่าไม่น่าใช่เพราะน้องไม่เคยมีประวัติรักษา อาการปกติดีทุกอย่าง และไปโรงเรียนตามปกติ ส่วนตัวยอมรับว่ายังช็อกกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป